Caption describing picture or graphic.

Arreerat Mattapha

Phone: 086-2520435
E-mail: mameaw_peenarak@hotmail.com

Tell customers about your company or organization. Include a brief description of your employees, the products or services you provide, and your company’s goal or mission statement.

Change the picture to one of your own, such as a picture of your CEO, a major product, or your company headquarters.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit, sed diem nonummy nibh euismod tincidunt ut lacreet dolore magna aliguam erat volutpat. Ut wisis enim ad minim veniam, quis nostrud exerci tution ullamcorper suscipit lobortis nisl ut aliquip ex ea commodo consequat.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit, sed diem nonummy nibh euismod tincidunt ut lacreet dolore magna aliguam erat volutpat. Ut wisis enim ad minim veniam, quis nostrud exerci tution ullamcorper suscipit lobortis nisl ut aliquip ex ea commodo consequat.

To contact us:

เฉลย

 

2.   จากการทดลองต่อไปนี้จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นพร้อมทั้งดุลสมการ   เมื่อใส่โครเมียมลงในสารละลายนิกเกิลไอออน พบว่าโลหะโครเมียมส่วนที่จุ่มอยู่ในสารละลายกร่อนไป

           วิธีทำ     การที่โลหะโครเมียมกร่อน แสดงว่ามีการให้อิเล็กตรอน ดังนั้นสมการการเกิดปฏิกิริยาจึงเป็น

                     Cr (s)       Cr 3+ (aq)   +  3e-

                 ในสารละลายมี    Ni2+  อยู่จึงรับอิเล็กตรอน ดังนั้นสมการการเกิดปฏิกิริยาจึงเป็น

                     Ni 2+ (aq) +  2e-   Ni (s)

                 ดังนั้นสามารถเขียนปฏิกิริยาระหว่าง   Cr(s)  กับ    Ni 2+(aq)   ได้ดังนี้

                    Cr (s)   +  Ni 2+ (aq)    Cr 3+ (aq)  +    Ni (s)

           ทำการดุลสมการโดยใช้เลขออกซิเดชันดังนี้

                 1.   หาเลขออกซิเดชันของธาตุหรือไอออนเพื่อใช้กำหนดตัวออกซิไดส์และตัวรีดิวซ์ในปฏิกิริยา

                    Cr(s) +  Ni 2+ (aq)   Cr 3+ (aq) + Ni (s)

      เลขออกซิเดชัน  0              +2                                 +3             0

                 2.    หาเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ้นของตัวรีดิวซ์และเลขออกซิเดชันที่ลดลงของตัวออกซิไดส์พบว่าเลขออกซิเดชันของ Cr เพิ่มขึ้น 3   Cr จึงเป็นตัวรีดิวซ์  ส่วนเลขออกซิเดชันของ   Ni 2+ลดลงจึงเป็นตัวออกซิไดส์

                      3.   ทำเลขออกซิเดชันที่เปลี่ยนแปลงของตัวรีดิวส์และตัวออกซิไดส์ในสารตั้งต้นให้เท่ากัน

                      2Cr (s)  +   3Ni 2+(aq)    Cr 3+(aq)  +  Ni (s)

     เลขออกซิเดชัน    0                          +2                                     +3                             0             

                 4.   ดุลจำนวนอะตอมของผลิตภัณฑ์ให้เท่ากับสารตั้งต้น

                  2Cr (s)       +  3Ni 2+(aq)    2Cr 3+(aq)   + 3Ni (s)